วาล์วลมไหลทางเดียว

 

1. วาล์วกันกลับ(Check valve)

เป็นวาล์วที่ยอมให้ลมไหลได้เพียงด้านเดียว

c1

2. วาล์วกันกลับสองทาง (Shuttle valve)

      บางครั้งเรียกวาล์วนี้ว่าลิ้นลมเดี่ยว ทางลอจิกเรียกว่า OR gate

s1

(ชี้ที่ E1 หรือ E2)

ไปยังรูAได้

ตารางคุณสมบัติของวาล์วกันกลับสองทาง

     E1      E2       A
      0       0        0
      1       0        1
      0       1        1
      1       1        1

0 = ไม่มีลม        1  = มีลม

   การใช้วาล์วกันกลับสองทางในวงจรนิวแมติก

sh1

      จากรูปเป็นวงจรที่ใช้บังคับกระบอกสูบทำงานสองทางจากแหล่งสัญญาณ

สองแหล่ง

      -ถ้ากดวาล์ว 1.2 ก้านสูบก็จะเคลื่อนที่ออก

      -ถ้ากดวาล์ว 1.4 ก้านสูบก็จะเคลื่อนที่ออกเช่นกัน

      -หรือถ้ากดวาล์วทั้งสองตัวพร้อมกันก้านสูบก็จะเคลื่อนที่ออกเหมือนกัน

      -ถ้าต้องการให้ก้านสูบเคลื่อนที่กลับก็กดวาล์ว 1.3 เพียงตัวเดียว
 

3. วาล์วความดันสองทาง(Two pressure valve)

      วาล์วนี้บางครั้งเรียกว่าลิ้นลมคู่ ทางลอจิกเรียกว่า AND gate

t1

ไปทางขวามือ วาล์วจะเลื่อนไปปิดรูAไว้ ลมจะไม่สามารถผ่าน

ไปได้(เลื่อนเม้าท์ชี้ที่E1)

วาล์วจะเลื่อนไปปิดรูAไว้ ลมจะไม่สามารถผ่านไปได้(เลื่อนเม้าท์ชี้ที่E2)

ทั้งE1และ E2(เลื่อนเม้าท์ชี้ที่E1และE2)

          ตารางคุณสมบัติของวาล์วความดันสองทาง

     E1      E2       A
      0       0        0
      1       0        0
      0       1        0
      1       1        1

   การใช้วาล์วความดันสองทางในวงจรนิวแมติก

tv1

      จากรูปเป็นวงจรที่ใช้วาล์วความดันสองทางบังคับกระบอกสูบชนิดทำงาน

สองทาง โดยบังคับให้เคลื่อนที่ออกจากแหล่งสัญญาณสองแหล่ง

      -ถ้าต้องการให้ก้านสูบเคลื่อนที่ออกจะต้องกดวาล์ว 1.2 และ 1.4

ก้านสูบจึงจะเคลื่อนที่ออกได้

      -ถ้าต้องการให้เคลื่อนที่เข้า จะต้องปล่อยวาล์ว 1.2 และ 1.4 เสียก่อน
แล้วจึงกดวาล์ว 1.3 ก้านสูบจึงจะเคลื่อนที่เข้า

 

4. วาล์วทิ้งลมเร็ว (Quick exhaust valve)

      วาล์วนี้ใช้สำหรับออกแบบวงจรนิวแมติกให้ก้านสูบเข้าเร็วกว่าปกติ

q1

ไปยังรูA (ใช้เม้าท์ชี้ที่ตัว P)

จะไหลระบายออกที่รูR (ใช้เม้าท์ชี้ที่ตัว A)

   การใช้วาล์วทิ้งลมเร็วในวงจรนิวแมติก

q1       

      -จากรูป เมื่อกดปุ่มกดของวาล์ว 3/2 ลมจะไหลผ่านไปยังรูลม1

ของวาล์วทิ้งลมเร็ว ลมจะดันให้วาล์วเลื่อนไปปิดรูลม 3 ไว้

ลูกสูบจะเคลื่อนที่ออกด้วยความเร็วปกติ (ชี้ที่1.1)           

      -แต่เมื่อปล่อยปุ่มกดสปริงจะดันให้ลูกสูบเคลื่อนที่กลับ การเคลื่อนที่

กลับของลูกสูบจะเร็วกว่าขณะเคลื่อนที่ออก เนื่องจากลมที่รูระบาย

จะดันให้วาล์วเลื่อนไปปิดรูลม 1 ลมสามารถระบายออกที่รูลม 3ได้เลย