การออกแบบวงจรนิวแมติกแบบต่อเนื่อง
วงจรนิวแมติกแบบต่อเนื่องคือวงจรที่มีอุปกรณ์ ทำงานหลายๆตัว
เมื่อผู้ควบคุมทำการสตาร์ตวงจรจะทำงานโดยอัตโนมัติ ในการออก
แบบวงจรแบบต่อเนื่อง มีขั้นตอนดังนี้
1. กำหนดขั้นตอนการเคลื่อนที่
2. เขียนโครงร่างวงจร
3. ทำการเลือกสัญญาณควบคุม
4. เลือกกลไกลูกกลิ้ง
5. เขียนไดอะแกรมหน้าที่
ตัวอย่างที่ 2 ต้องการออกแบบเครื่องจักรเพื่อยก กล่องที่มาจาก
สายพานลำเลียงต่างระดับ จากระดับ ต่ำไปยังระดับที่สูงกว่า
โดยให้กระบอกสูบ 1 เป็น กระบอกยกกล่องจากระดับล่างขึ้นไปยัง
ระดับบน และใช้กระบอกสูบที่ 2 เป็นตัวผลักกล่องไปยัง สายพานลำเลียง
จากนั้นให้กระบอกสูบ 1 และ กระบอกสูบ 2 กลับตำแหน่งเดิม
สตาร์ตให้ใช้วาล์ว แบบปุ่มกด
วิธีทำ
1. กำหนดและเขียนลำดับขั้นการทำงานและ ไดอะแกรมการเคลื่อนที่
2. เขียนโครงร่างวงจร
3. ทำการเลือกสัญญาณควบคุม
4. เลือกกลไกลูกกลิ้งและตรวจสอบการทำงาน
5.เขียนไดอะแกรมหน้าที่
ตัวอย่างที่ 3 ต้องการออกแบบวงจรนิวแมติกของ เครื่องเจาะชิ้นงาน
แบบอัตโนมัติ โดยเมื่อกด สตาร์ตแล้วกระบอกสูบที่ 1 จะป้อนและยึด
ชิ้นงานไว้จากนั้นกระบอกสูบที่ 2 จะดันสว่านลงมาเจาะ ชิ้นงาน
เมื่อเจาะเสร็จสว่านจะคืนกลับก่อนกระบอกสูบที่ 1
วิธีทำ
1. กำหนดและเขียนลำดับการเคลื่อนที่และ ไดอะแกรมการเคลื่อนที่
ลำดับการเคลื่อนที่ | 1 | 2 | 3 | 4 |
กระบอกสูบ | 1+ | 2+ | 2- | 1- |
2. เขียนโครงร่างวงจร
3. ทำการเลือกสัญญาณควบคุม
4. เลือกกลไกลูกกลิ้งและตรวจสอบการทำงาน
ตัวอย่างที่ 4 ต้องการประทับตราการค้าลงบนชิ้นงาน เมื่อกดปุ่มสตาร์ต
แล้ว เครื่องจักรจะประทับตราชิ้นงานที่บรรจุอยู่ในแมกกาซีน และเมื่อ
ประทับตราแล้ว ชิ้นงานจะถูกผลักลงตะกร้า
วิธีทำ
1. กำหนดและเขียนลำดับการเคลื่อนที่และ ไดอะแกรมการเคลื่อนที่
ลำดับการเคลื่อนที่ | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 |
กระบอกสูบ | 1.0+ | 2.0+ | 2.0- | 1.0- | 3.0+ | 3,0- |
2. เขียนโครงร่างวงจร
3. ทำการเลือกสัญญาณควบคุม
4. เลือกกลไกลูกกลิ้งและตรวจสอบการทำงาน
5. เขียนไดอะแกรมหน้าที่